สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว
1.สภาพทั่วไป
1.1 ประวัติความเป็นมา
เดิมทีตำบลทุ่งฮั้ว เป็นตำบลที่อยู่เหนือสุดของอำเภอวังเหนือ โดยตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2482 ซึ่งประกอบไปด้วย หมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน ตำบลทุ่งฮั้ว เป็นตำบลที่มีขนาดใหญ่ จึงได้แยกตำบลทุ่งฮั้ว ออกเป็น 2 ตำบล คือ ตำบลทุ่งฮั้ว และตำบลวังแก้ว
สภาตำบลทุ่งฮั้ว ได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ในสมัยแรกมีหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 10 หมู่บ้าน มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ทั้งหมด 31 คน ในปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้วมีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 12 หมู่บ้าน ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมด 24 คน คณะผู้บริหารทั้งหมด 4 คน พนักงานส่วนตำบลทั้งหมด 29 คน
1.2 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว ตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งฮั้ว หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งฮั้ว อำเภอวังเหนือ
จังหวัดลำปาง
1.3 พื้นที่
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว มีเนื้อที่ประมาณ 131.46 ตารางกิโลเมตร หรือ 82,163 ไร่
1.4 ภูมิประเทศ
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว มีสภาพทางกายภาพที่เป็นพื้นราบล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ป่าไม้และภูเขา มีแม่น้ำวังไหลผ่านกลางท้องที่ตำบลทุ่งฮั้ว
1.5 อาณาเขตการติดต่อ
- ทิศเหนือ ติดกับตำบลวังแก้ว อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง
- ทิศใต้ ติดกับตำบลวังเหนือ และตำบลวังซ้าย อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง
- ทิศตะวันออก ติดกับอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
- ทิศตะวันตก ติดกับอำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
1.6 จำนวนหมู่บ้าน
- องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว มีจำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งปี้ หมู่ที่ 7 บ้านห้วยกันทา
หมู่ที่ 2 บ้านแม่ทรายเงิน หมู่ที่ 8 บ้านแม่เลียบ
หมู่ที่ 3 บ้านผาดิน หมู่ที่ 9 บ้านบนทุ่ง
หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งฮั้ว หมู่ที่ 10 บ้านป่าบง ฮ่องไฮ
หมู่ที่ 5 บ้านวังมน หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งฮั้วพัฒนา
หมู่ที่ 6 บ้านผาแดง หมู่ที่ 12 บ้านทุ่งวังทอง
1.7 ท้องถิ่นอื่นในตำบล
- จำนวนเทศบาล - แห่ง
- จำนวนสุขาภิบาล - แห่ง
1.8 ประชากร
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว มีประชากรทั้งสิ้น5,633คน แยกเป็น
- ชาย 2,873 คน
- หญิง 2,760 คน
มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด1,903ครัวเรือน
ตำบล
หมู่บ้าน
หมู่ที่
ประชากร
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
ชาย
หญิง
รวม
ทุ่งฮั้ว
ทุ่งปี้
1
263
271
534
228
225
453
165
แม่ทรายเงิน
2
369
351
720
302
281
583
236
ผาดิน
3
97
97
194
76
71
147
56
ทุ่งฮั้ว
4
278
274
552
237
230
467
212
วังมน
5
389
357
746
301
293
594
230
ผาแดง
6
143
139
282
123
111
234
107
ห้วยกันทา
7
453
386
839
371
312
683
296
แม่เลียบ
8
147
133
280
119
104
223
99
บนทุ่ง
9
149
156
305
123
133
256
109
ป่าบง ฮ่องไฮ
10
193
183
376
159
158
316
120
ทุ่งฮั้วพัฒนา
11
182
219
401
159
190
348
134
ทุ่งวังทอง
12
210
194
404
174
168
342
139
รวม
2,873
2,760
5,633
2,372
2,276
4,646
1,903
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรในเขตองค์การบริการส่วนตำบลทุ่งฮั้ว ส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน เลี้ยงสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมาคืออาชีพรับจ้างและอาชีพค้าขาย คิดเป็น
ร้อยละ 20
2.2 หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว
- ธนาคาร - แห่ง
- โรงบ่มใบยา - แห่ง
- ปั๊มน้ำมันแบบหัวจ่าย 1 แห่ง
- ปั๊มน้ำมัน (ปั๊มหลอด) 11 แห่ง
- โรงงานอุตสาหกรรม - แห่ง
- โรงสี 23 แห่ง
3. สภาพสังคม
3.1 การศึกษา
-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง คือ
* ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งปี้ มีจำนวนเด็กเล็กทั้งหมด 12 คน
* ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว มีจำนวนเด็ก 107 คน
- โรงเรียนประถมศึกษาและอนุบาล 3 แห่ง คือ
* โรงเรียนบ้านทุ่งปี้ มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 64 คน
* โรงเรียนบ้านแม่ม่า มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 44 คน
* โรงเรียนบ้านวังมน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 60 คน
- โรงเรียนมัธยมศึกษา (ขยายโอกาส ม.1 – ม.3) 1 แห่ง คือ
* โรงเรียนทุ่งฮั้ววิทยา มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 239คน
- โรงเรียนอาชีวะศึกษา - แห่ง
- โรงเรียน / สถาบันชั้นสูง - แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 12 แห่ง คือ
* หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 12
(ข้อมูล ณ วันที่ 20เมษายน 2555)
สถาบันและองค์กรศาสนา
- วัด / สำนักสงฆ์ 9 แห่ง แยกเป็น
* วัดทุ่งปี้ ตั้งอยู่ บ้านทุ่งปี้ หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดแม่ทรายเงิน ตั้งอยู่ บ้านแม่ทรายเงิน หมู่ที่ 2 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดผาดิน ตั้งอยู่ บ้านผาดิน หมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดทุ่งฮั้ว ตั้งอยู่ บ้านทุ่งฮั้ว หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดวังมน ตั้งอยู่ บ้านวังมน หมู่ที่ 5 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดผาแดง ตั้งอยู่ บ้านผาแดง หมู่ที่ 6 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดห้วยกันทา ตั้งอยู่ บ้านห้วยกันทา หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดพระธาตุพระเกิด ตั้งอยู่ บ้านแม่เลียบ หมู่ที่ 8 ตำบลทุ่งฮั้ว
* วัดป่าบง ตั้งอยู่ บ้านป่าบง ฮ่องไฮ หมู่ที่ 10 ตำบลทุ่งฮั้ว
- มัสยิด - แห่ง
- ศาลเจ้า 2 แห่ง
- โบสถ์ - แห่ง
การสาธารณสุข
- โรงพยาบาลของรัฐขนาด - เตียง - แห่ง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน 1 แห่ง คือ (สถานีอนามัยบ้านทุ่งฮั้ว)
- สถานพยาบาลเอกชน - แห่ง
- ร้านขายยาแผนปัจจุบัน - แห่ง
- อัตราการมี และใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจชุมชน 1 แห่ง
- สถานีดับเพลิง - แห่ง
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- ใช้เส้นทางสายทุ่งเป้า – แม่กึ้ด ติดต่อกับอำเภอวังเหนือ ระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร
- ใช้เส้นทางสายวังเหนือ – แจ้ห่ม –เมืองปาน ติดต่อกับอำเภอเมืองปาน ระยะทาง ประมาณ 68 กิโลเมตร
- ใช้เส้นทางสายวังเหนือ – แจ้ห่ม ติดต่อกับอำเภอแจ้ห่ม ระยะทางประมาณ 63 กิโลเมตร
- ใช้เส้นทางสายวังเหนือ – แจ้ห่ม – ลำปาง ติดต่อกับจังหวัดลำปาง ระยะทางประมาณ 123 กิโลเมตร
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง
- สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ - แห่ง
4.3 การใช้ไฟฟ้า
- ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งฮั้ว มีไฟฟ้าใช้ทุกบ้านทุกครัวเรือน
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ลำห้วย 5 แห่ง ดังนี้
- แม่น้ำวัง
- ห้วยแม่ม่า
- ลำเหมืองกลาง
- ลำเหมืองท้าวแก้ว
- ลำเหมืองท้าวชมภู
- บึง หนอง และอื่นๆ - แห่ง
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 9 แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 1,521 แห่ง
- บ่อโยก - แห่ง
- บ่อบาดาลพร้อมถังเก็บ 13 แห่ง
- ประปา 8 แห่ง
- โรงน้ำดื่ม 2 แห่ง
5. ข้อมูลอื่นๆ
5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
- ป่าไม้ ป่าชุมชนและแหล่งดินดำ
- น้ำตก บ้านทุ่งปี้ หมู่ที่ 1
5.2 มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน - รุ่น - คน
- ไทยอาสาป้องกันฝ่ายพลเรือน 1 รุ่น 84 คน
- อสม. 185 คน
- กลุ่มแม่บ้าน 12 กลุ่ม 120 คน
- ตำรวจชุมชน 1 กลุ่ม 11 คน
กลุ่มอาชีพ
1. กลุ่มแม่บ้านทุ่งปี้ (กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า) จำนวนสมาชิก 20 คน
2. กลุ่มแม่บ้านแม่ทรายเงิน (กลุ่มทำปุ๋ยชีวภาพ) “-“ 30 คน
3. กลุ่มปลูกไผ่ตง บ้านแม่ทรายเงิน “-“ 20 คน
4. กลุ่มฉางข้าวบ้านทุ่งฮั้ว “-“ 50 คน
5. กลุ่มผู้สูงอายุบ้านทุ่งฮั้ว (กลุ่มจักรสาน) “-“ 20 คน
6. กลุ่มแม่บ้านทุ่งฮั้ว (กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้แห้ง) “-“ 30 คน
7. กลุ่มแม่บ้านบ้านป่าบง ฮ่องไฮ (กลุ่มสตรีเพาะเห็ด)“-“ 20 คน
8. กลุ่มเกษตรปลอดสารพิษบ้านป่าบง ฮ่องไฮ “-“ 20 คน
9. กลุ่มแม่บ้านบ้านทุ่งฮั้วพัฒนา (กลุ่มน้ำดื่มอาร์โอ) “-“ 50 คน
10. กลุ่มเพาะเนื้อเยื้อดอกกล้วยไม้ บ้านทุ่งวังทอง “-“ 30 คน
11. กลุ่มน้ำพริกลาบบ้านผาแดง “-“ 30 คน
12. กลุ่มสตรีเย็บผ้านวม หมู่ 10 บ้านป่าบง – ฮ่องไฮ “-“ 30 คน
5.3 ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
1) การรวมกลุ่มของประชาชน
- กลุ่มอาชีพ 12 กลุ่ม
2) จุดเด่นของพื้นที่
พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลทุ่งฮั้ว มีสภาพทางกายภาพเป็นพื้นที่ราบล้อมรอบไปด้วยป่าไม้และภูเขามีแม่น้ำวังไหลผ่านกลางท้องที่ตำบลทุ่งฮั้ว และประชากรในตำบลส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักและอาชีพรับจ้างทั่วไปเป็นอาชีพรอง มีเส้นทางลำเลียงพืชผลทางการเกษตรได้หลายทางซึ่งเป็นเส้นทางสู่จังหวัดลำปาง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย ตลอดเป็นพื้นที่ทางผ่านสู่แหล่งท่องเที่ยวสำคัญคือน้ำตก วังแก้ว น้ำตกวังทอง และยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและสร้างรายได้สู่ชุมชน เช่น ถ้ำผาแดง พระธาตุผาดินและวัดพระเกิด เป็นต้น